ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ กับแบบสืบเสาะหาความรู้
Basic Science Process Skills of Early Childhood Received from Using Project Approach and Inquiry Methods
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบ 1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็ก
ปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น
พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ และ 3) ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการกับแบบ
สืบเสาะหาความรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2556 จํานวน 50 คน จาก 15 โรงเรียนของกลุ่มโรงเรียนเก้าสุพรรณิการ์สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบ 2 ขั้นตอน (two stage sampling)
คือ ขั้นที่ 1 สุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลากใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่มจาก 15 โรงเรียน ให้เหลือ 2 โรงเรียน ได้แก่
โรงเรียนวัดวังน้ําเย็น จํานวนเด็กปฐมวัย 28 คน และโรงเรียนวัดคูบัว จํานวนเด็กปฐมวัย 22 คน ขั้นที่ 2
สุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลาก เพื่อเลือกวิธีการจัดประสบการณ์ ได้แก่ โรงเรียนวัดวังน้ําเย็น เป็นกลุ่มที่1
ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ และโรงเรียนวัดคูบัว เป็นกลุ่มที่ 2 ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ
2) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และ 3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.813 วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการ
ทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ
โครงการ สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบโครงการกับแบบสืบเสาะหาความรู้ไม่แตกต่างกัน
สรุปผลการวิจัย
จากการทดลองจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดย ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ และ แบบสืบเสาะหาความรู้กับกลุ่มตัวอย่าง พบว่า 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้แบบโครงการ สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้แบบโครงการกับแบบสืบเสาะหาความรู้ ไม่ แตกต่างกัน
Basic Science Process Skills of Early Childhood Received from Using Project Approach and Inquiry Methods
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบ 1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็ก
ปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น
พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ และ 3) ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการกับแบบ
สืบเสาะหาความรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2556 จํานวน 50 คน จาก 15 โรงเรียนของกลุ่มโรงเรียนเก้าสุพรรณิการ์สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบ 2 ขั้นตอน (two stage sampling)
คือ ขั้นที่ 1 สุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลากใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่มจาก 15 โรงเรียน ให้เหลือ 2 โรงเรียน ได้แก่
โรงเรียนวัดวังน้ําเย็น จํานวนเด็กปฐมวัย 28 คน และโรงเรียนวัดคูบัว จํานวนเด็กปฐมวัย 22 คน ขั้นที่ 2
สุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลาก เพื่อเลือกวิธีการจัดประสบการณ์ ได้แก่ โรงเรียนวัดวังน้ําเย็น เป็นกลุ่มที่1
ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ และโรงเรียนวัดคูบัว เป็นกลุ่มที่ 2 ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ
2) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และ 3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.813 วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการ
ทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ
โครงการ สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบโครงการกับแบบสืบเสาะหาความรู้ไม่แตกต่างกัน
สรุปผลการวิจัย
จากการทดลองจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดย ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ และ แบบสืบเสาะหาความรู้กับกลุ่มตัวอย่าง พบว่า 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้แบบโครงการ สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้แบบโครงการกับแบบสืบเสาะหาความรู้ ไม่ แตกต่างกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น